1. เพื่อให้นักเรียนสามารอธิบายได้ว่าเหตุใดเมื่อวัตถุอยู่ในบางตำแหน่ง นัยน์ตาไม่สามารถรับภาพของวัตถุได้
ตอนที่ 1 กาหาตำแหน่งของจุดบอด 1. ทำเครื่องหมาย + และ ลงในกระดาษขาวในแนวระดับ ให้มีขนาดและระยะห่างระหว่างเครื่องหมายทั้งสองนี้ 10 cm ดังภาพ 2. หลับตาซ้ายเหยียดมือขวาที่จับกระดาษให้ตรง และยกกระดาษที่มีเครื่องหมาย + ตรงกับนัยน์ตาขวา ตอนที่ 2 การหาตำแหน่งของโฟเวีย ให้นักเรียนยื่นแขนไปข้างหลังเพื่อรับวัตถุที่มีสีสดๆ และระบุสีได้ชัดเจนจากเพื่อน เช่น ดินสอ ปากกา โดยนักเรียนไม่ทราบมาก่อนว่าวัตถุนั้นมีสีอะไร 1. มองตรงข้ามหน้าค่อยๆ เคลื่อนแขนมาข้างหน้าให้อยู่ในระดับสายตา ขณะเคลื่อนแขนมาด้านหน้า มองตรงไปข้างหน้า ห้ามเหลือบวัตถุในมือ เมื่อใดที่นักเรียนเร่มเห็นวัตถุให้บอกสีวัตถุนั้น ผลการทดลองที่ได้ ตอนที่ 1 กาหาตำแหน่งของจุดบอด ตอนที่ 2 การหาตำแหน่งของโฟเวีย สรุปผลการทดลองได้ว่า ปกติแล้วในชั้นเรตินาจะมีเซลล์รูปแท่ง หนาแน่นกว่าเซลล์กรวยแต่บริเวณตรงกลางของเรตินาที่เรียกว่า โฟเวีย นั้นจะมีเซลล์รูปกรวยหนาแน่นกว่าบริเวณอื่น ดังนั้นแสงที่ตกบริเวณนี้จึงเกิดเป็นภาพได้ชัดเจน ส่วนบริเวณของเรตินาที่มีแต่แอกซอนออกจากนัยน์ตา เพื่อเข้าสู่เส้นประสาทตาจะไม่มีเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยอยู่เลย ดังนั้นแสงที่ตกบริเวณนี้จึงไม่เกิดเป็นภาพเรียบบริเวณนี้ว่า จุดบอด
|