เพื่อให้นักเรียนศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง s, s’ และ f
1. เลนส์นูน |
2. กล่องแสง |
3. หม้อแปลงโวลต์ต่ำ |
4. ไม้เมตร |
5. กระดาษขาว |
|
ตอนที่ 1 การหาความยาวโฟกัสของเลนส์นูน
1. จัดเลนส์นูนและฉาก ดังรูป
2.เลื่อนเลนส์นูนไปที่ตำแหน่งปลายสุดของราง
3.จัดเลนส์นูนให้รับแสงจากวัตถุที่อยู่ไกลจากเลนส์ประมาณ 100 เมตร
4.เลื่อนฉากจนได้ภาพวัตถุคมชัดที่สุดฉาก เพื่อวัดความยาวโฟกัส
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ความยาวโฟกัสของเลนส์นูน = 14.5 เซนติเมตร ตำแหน่งภาพชัดที่สุดบนฉากถือเป็นตำแหน่งของจุดโฟกัส เนื่องจากถือว่าวัตถุนั้นอยู่ไกล แสงจากวัตถุจึงเป็นแสงขนาน และเมื่อแสงขนานผ่านเลนส์นูน จะไปพบกันที่จุดโฟกัส หรือกล่าวว่าเกิดภาพที่จุดโฟกัส
ตอนที่ 2 การหาความสัมพันธ์ระหว่าง s, s’ และ f
1.วางกล่องแสงไว้ที่ปลายข้างหนึ่งของไม้เมตร
2.วางเลนส์บนไม้เมตรให้ห่างจากหลอดไฟของกล่องแสงไกลกว่าความยาวโฟกัสเล็กน้อย
3.เลื่อนฉากไปมาจนได้ภาพของไส้หลอดบนฉากคมชัดที่สุด
4.วัดระยะวัตถุ (s) และระยะภาพ (s’) บันทึกค่าที่ได้ในตาราง
5.เลื่อนเลนส์ให้ห่างหลอดไฟเป็นระยะต่างๆ อีก 4 ค่า ทำการทดลองซ้ำกับที่ได้ทำข้างต้นจะได้ s และ s’ อย่างละ 5 ค่า
6.คำนวณหา และ พร้อมทั้งบันทึกลงตาราง จากนั้นเขียนกราฟระหว่าง กับ
จาก f=14.5 cm จะได้ผลการทดลอง ดังนี้
ครั้งที่ |
S(cm) |
(cm) |
|
|
1 |
25 |
34.5 |
4.0 |
2.9 |
2 |
30 |
28.1 |
3.3 |
3.6 |
3 |
35 |
24.8 |
2.9 |
4.0 |
4 |
40 |
22.7 |
2.5 |
4.4 |
5 |
50 |
20.4 |
2.0 |
4.9 |
เขียนกราฟระหว่าง กับ โดยให้ และ ได้ดังนี้
สรุปได้ว่า
1.เมื่อเขียนกราฟระหว่าง และ จะได้กราฟเส้นตรงตัดแกน ที่ 7 m-1 และตัดแกน ที่ 7 m-1 เช่นกัน
2.ความชันของกราฟ = = -1
3.จากกราฟสามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง s, s’ และ f ได้ดังนี้
จากสมการเส้นตรง y = ax+b จะได้
-
y คือ
-
x คือ
-
a คือ ความชัน = -1
-
b คือ จุดตัดบนแกนยืนซึ่งคือ ดังนั้น
= -1 +
+ =
|