1. อธิบายและทดลองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของ ความดันบรรยากาศ ที่ระดับความสูงต่างๆ
2. สามารถสร้างเครื่องมือวัด ความดันบรรยากาศ อย่างง่ายได้
|
|
แผ่นลูกโป่ง |
แก้วใส |
|
|
ยางรัดของ |
หลอดดูด |
|
|
กรรไกร |
เข็มหมุด |
|
|
ดินน้ำมัน |
กระดาษแข็ง |
|
ปากกา |
1.ขึงแผ่นลูกโป่งครอบแก้วน้ำ รัดด้วยยางรัดของ
2. ตัดหลอดดูดยางประมาณ 4 เซนติเมตร เสียบกับยางรัดของให้หลอดดูดตั้งตรง
3. ตัดหลอดดูดอีกอันหนึ่งให้ยาวประมาณ 15 เซนติเมตร แล้วตัดปลายหลอดด้านหนึ่งให้เฉียง
4. ติดหลอดดูดอันยาวเข้ากับเข้ากับหลอดดูดอันที่ตั้งตรงด้วยเข็มหมุด แล้วถ่วงปลายหลอดอันยาวด้วยดินน้ำมัน ให้ดินน้ำมันสัมผัสกับแผ่นลูกโป่งที่ขึงตึงไว้พอดี
5. แบ่งขีด 0 – 10 หน่วยบนกระดาษแข็ง แล้วตั้งให้ปลายหลอดดูดชี้ไปที่ขีดบนกระดาษแข็ง
6. นำเครื่องมือที่นักเรียนสร้างขึ้นไปทดลองวัดความดันบรรยากาศในที่ต่างๆ กัน สังเกตและบันทึกผลการทดลอง โดยบันทึกผลเวลาเดียวกันทุกวัน เป็นเวลา 1 สัปดาห์
ตารางบันทึกผลการทดลอง
สถานที่วัดความดัน |
วันที่........ถึง.........เดือน.............พ.ศ. .......... |
|
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อากาศปกคลุมโลกเป็นชั้นๆ เรียกว่า “ ชั้นบรรยากาศ ” บรรยากาศแต่ละชั้นมีส่วนประกอบและปริมาณของแก๊สแตกต่างกัน เนื่องจากอากาศเป็นสารซึ่งมีมวล จึงถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดเช่นเดียวกับวัตถุอื่นๆ บนโลก น้ำหนักของอากาศที่กดลงบนพื้นโลกเนื่องจาก แรงดึงดูดของโลก ในแนวตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วย เรียกว่า “ความดันบรรยากาศหรือความกดอากาศ ” ซึ่งเราสามารถวัดความดันบรรยากาศหรือความกดอากาศได้จากเครื่องมือที่เรียกว่า “บารอมิเตอร์”
|