1. เพื่อให้นักเรียนสามารถสังเกตและอธิบายความแตกต่างของความสว่างและการกะพริบแสงระหว่างดาวเคราะห์
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลและอธิบายเกณฑ์การจำแนกดาวเคราะห์ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
1. เครื่องแอสโทรเลบ |
1 ชุด |
2. เข็มทิศ |
1 อัน |
3. แบบจำลองทรงกลมท้องฟ้าหรือแผนที่ดาว |
1 ชุด |
4. เทปใส |
1 ม้วน |
5. ปากกาสี |
1 แท่ง |
|
|
|
เครื่องแอสโทรเลบ |
เข็มทิศ |
แบบจำลองทรงกลมท้องฟ้า |
|
|
|
แผนที่ดาว |
เทปใส |
ปากกาสี |
1. สืบค้นข้อมูลและร่วมกันอภิปลายถึงตำแหน่งของดาวเคราะห์ในคืนที่จะทำการสังเกต ว่าจะสามารถสังเกตดาวเคราะห์ดวงใดได้บ้าง และสังเกตเห็นในเวลาใด และอยู่ในกลุ่มดาวใด
2. สังเกตท้องฟ้าโดยใช้ข้อมูลที่สืบค้นได้จาก ข้อ 1. เปรียบเทียบดาวในบริเวณที่สังเกตว่า ดวงใดมีความแตกต่างจากดาวดวงอื่นในเรื่องของความสว่าง และการกระพริบของแสงดาว
3. บันทึกตำแหน่งดาวที่สังเกตแตกต่างจากดาวดวงอื่นลงบนทรงกลมท้องฟ้าหรือแผนที่ดาว
ผลการทดลองที่ได้ คือ
ดาวที่สังเกต |
ลักษณะปรากฏของดาวเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า |
ลักษณะแสง |
ความสว่าง |
สี |
ค่ามุม (องศา) |
มุมทิศ |
มุมเงย |
ดาวเคราะห์
ดาวฤกษ์ |
นิ่ง
กระพริบ |
สว่างมาก
สว่างน้อย |
แดง เหลือง
ขาว ฯลฯ |
พิจารณาจากบันทึกผล
การทดลองนักเรียน |
สรุปได้ว่า
จากการสังเกตความสว่างของดวงดาวในท้องฟ้าจริง ดาวเคราะห์ มีความสว่างมากกว่า มีสีต่างๆ กัน ดาวเคราะห์ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง จะสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์และแสงสะท้องจะส่งเป็นสำแสงผ่านบรรยากาศของโลก และเกิดการหักเหภายในขอบเขตของลำแสง ทำให้เห็นแสงกระพริบน้อยมาก จนดูเหมือนว่ามีแสงนิ่ง เพราะดาวเคราะห์อยู่ใกล้โลกมากกว่าดาวฤกษ์ ส่วนดาวฤกษ์อยู่ไกลจากโลกมาก จนกลายเป็นจุดที่สว่าง และดาวฤกษ์ส่วนมากสว่างน้อยกว่า ลักษณะของแสงเป็นเส้นแสง
จึงเกิดการหักเหของแสงในชั้นบรรยากาศมองเห็นเป็นแสงกะพริบ สำหรับตำแหน่งของดาวเคราะห์ในท้องฟ้าพบว่ามีตำแหน่งตรงกับตำแหน่งดาวเคราะห์ใน กลุ่มดาวจักรราศี
|