<< Go Back

กฎทรงมวล
กฎทรงมวล กล่าวว่า “ ในปฏิกิริยาเคมีใดๆมวลของสารทั้งหมดที่ทำปฏิกิริยากันจะเท่ากับมวลของสารทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยานั้น”
ตัวอย่างการคำนวณ

ตัวอย่าง นำโซเดียมซัลเฟต (Na2So4) 142 กรัม มาทำปฏิกิริยากับแบเรียมคลอไรด์ (BaCl2) 208 กรัม เกิดโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 117 กรัม ถ้าการทดลองนี้เป็นไปตามกฏทรงมวลปฏิกิริยาดังกล่าวจะเกิดแบเรียมซัลเฟต (BaSo4) กี่กรัม

วิธีทำ มวลของสารทั้งหมดก่อนเกิดปฏิกิริยา คือ

มวลของซัลเฟต + มวลของแบเรียมคลอไรด์ =142+208 =350 กรัม

มวลของสารทั้งหมดหลังเกิดปฏิกิริยา คือ

มวลของโซเดียมคลอไรด์ + มวลของโซเดียมซัลเฟต =117+x กรัม

ฉะนั้น มวลของสารทั้งหมดก่อนทำปฏิกิริยา = มวลของสารทั้งหมดหลังทำปฏิกิริยา
117 + x = 350
x = 350 – 117 = 233 กรัม

ฉะนั้น เกิดแบเรียมซัลเฟต = 233 กรัม

 

 

 

https://sites.google.com/site/janjiradr/bth-thi-3-priman-sarsam-phanth-1/kt-thrng-mwl

<< Go Back