<< Go Back

แบบทดสอบก่อนเรียน

1. ข้อใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า

  1. แบตเตอรี่
  2. สายไฟ
  3. หลอดไฟ
  4. ตัวต้านทาน
 

2. อุปกรณ์ใดที่ไม่ได้ใช้กลไกในการทำงาน

  1. ลูกบิดประตู
  2. มีด
  3. ไขควง
  4. สว่านมือ
 

3. “ กลไกที่ช่วยผ่อนแรงในการทำงาน ประกอบด้วยวัตถุทรงกระบอก 2 อันที่มีขนาดต่างกันและอยู่ ติดกัน ” หมายถึงข้อใด

  1. สกรูและลิ่ม
  2. ล้อและเพลา
  3. รอกและคาน
  4. ไม่มีข้อถูก
 

4. อุปกรณ์ในข้อใดใช้การทำงานตากหลักการกลไกล้อและเพลา

  1. กังหันน้ำชัยพัฒนา
  2. เรือหางยาว
  3. รถดำนา
  4. เครื่องปั่นผลไม้
 

5. ไฟฟ้าที่เราใช้ภายในบ้านเรือนทั่วไปมีขนาดแรงดันเท่าไร

  1. 220 โวลต์
  2. 300 โวลต์
  3. 320 โวลต์
  4. 400 โวลต์
 

6. อุปกรณ์ในข้อใดมีหน้าที่ตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้า เพื่อควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าภายในวงจร

  1. หลอดไฟ
  2. แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
  3. สวิตซ์
  4. สายไฟ
 

7. ข้อใดคืออุปกรณ์ที่ทำให้เกิดเสียงจากไฟฟ้า

  1. โทรศัพท์เคลื่อนที่
  2. ออดไฟฟ้า
  3. การ์ดอวยพรแบบมีเพลง
  4. ถูกทุกข้อ
 

8. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง

  1. พัดลมคืออุปกรณ์ที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานกล
  2. ไดนาโมคืออุปกรณ์ที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานกล
  3. เครื่องซักผ้าคืออุปกรณ์ที่เปลี่ยนจากพลังงานกลไปเป็นพลังงานไฟฟ้า
  4. ตู้เย็นคืออุปกรณ์ที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานความเย็น
 

9. จากภาพคือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนอุปกรณ์ใด
 

  1. แบตเตอรี่
  2. สวิตซ์
  3. ตัวต้านทาน
  4. หลอดไฟ
 

10. ไฟฟ้าที่มีทิศทางการเคลื่อนที่ในวงจรไปทิศทางเดียว หมายถึงข้อใด

  1. ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
  2. ไฟฟ้ากระแสสลับ
  3. ไฟฟ้ากระแสตรง
  4. ไฟฟ้าทางตรง
 

11. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มีกี่ขั้นตอน

  1. 2 ขั้นตอน
  2. 4 ขั้นตอน
  3. 6 ขั้นตอน
  4. 8 ขั้นตอน
 

12. ขั้นสุดท้ายของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คือข้อใด

  1.  ระบุปัญหา
  2.  รวบรวมข้อมูล
  3.  ทดสอบ ประเมินผล
  4.  นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา
 

13. ข้อใดเรียงลำดับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้ถูกต้อง

  1. ระบุปัญหา รวบรวมข้อมูล ออกแบบวิธีแก้ปัญหา วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ทดสอบ
  2. นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ระบุปัญหา รวบรวมข้อมูล ออกแบบวิธีแก้ปัญหา วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ
  3. ระบุปัญหา รวบรวมข้อมูล ออกแบบวิธีแก้ปัญหา วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา
  4. ออกแบบวิธีแก้ปัญหา ระบุปัญหา รวบรวมข้อมูล วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา
 

14. ขั้นแรกของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คือข้อใด

  1. ระบุปัญหา
  2. รวบรวมข้อมูล
  3. ทดสอบ ประเมินผล
  4. นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา
 

15. ข้อใดคือสิ่งสำคัญที่ทำให้ต้องมีขั้นตอนการทดสอบ ประเมินนผล และปรับปรุงวิธีการแก้ปัญหา

  1. เพื่อให้มองเห็นข้อบกพร่อง แล้วนำมาปรับปรุง พัฒนาให้ดีขึ้น
  2. เพื่อให้ได้ผลงานที่ดีที่สุด สามารถเอาชนะผลงานอื่น ๆ ในท้องตลาดได้
  3. เพื่อให้ได้การออกแบบผลงานที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน
  4. ไม่มีข้อกล่าวถูก
 

16. ก่อนที่นักเรียนจะรวบรวมข้อมูลนักเรียนควรทำอะไรก่อน

  1. ระบุปัญหา
  2. ออกแบบวีธีการแก้ปัญหา
  3. วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
  4. ทดสอบประเมินผลและปรับปรุงแก้ไข
 

17. การสืบค้นข้อมูลสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ใดบ้าง

  1. การสืบค้นจากเอกสาร
  2. การสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ
  3. บทความงานวิจัยการเผยแพร่ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
  4. ถูกทุกข้อ
 

18. ข้อใดบอกความหมาย "ออกแบบวิธีแก้ไขปัญหา" ได้ถูกต้อง

  1. ช่วยลดเวลาและลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
  2. ขั้นตอนสุดท้าย ของกระบวนการเชิงวิศวกรรม
  3. กำหนดเป้าหมายและเวลา
  4. ขั้นตอนแรก ของกระบวนการเชิงวิศวกรรม
 

19. การเขียนผังงานแสดงรายละเอียดการทำงานอยู่ขั้นตอนใด

  1. ระบุปัญหา
  2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิด
  3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
  4. ดำเนินการแก้ปัญหา
 

20. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากการออกแบบ

  1. เพื่อประโยชน์ใช้สอยตามสภาพ
  2. เพื่อให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งานจริง
  3. เพื่อยกระดับชิ้นงานให้มีความหรูหราและมีความงามเฉพาะตัว
  4. เพื่อยกระดับมาตรฐานต่ำแต่นำไปจำหน่ายในราคาที่สูงเกินจริง
 

21. ก่อนที่นักเรียนจะรวบรวมข้อมูลนักเรียนควรทำอะไรก่อน

  1. ระบุปัญหา
  2. วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
  3. ออกแบบวีธีการแก้ปัญหา
  4. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข
 

22. กระบวนการแก้ปัญหาจะต้องเริ่มจากขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรก

  1.  ดำเนินการแก้ไข
  2.  วางแผนการแก้ปัญหา
  3.  ตรวจสอบและปรับปรุง
  4.  วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
 

23. การใช้กระบวนการแก้ปัญหามีประโยชน์อย่างไร

  1. สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
  2. สามารถแก้ไขปัญหาได้ทุกอย่าง
  3. สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
  4. สามารถสร้างเงื่อนไขในการแก้ปัญหาของตนเองได้
 

24. การสืบค้นข้อมูลสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ใดบ้าง

  1. การสืบค้นจากเอกสาร
  2. บทความงานวิจัยการเผยแพร่ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
  3. การสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ
  4. ถูกทุกข้อ
 

25. ตัวอย่าง ประเด็น การเลือกวัสดุที่มาใช้ในการแก้ปัญหา ควรอยู่ขั้นตอนใด

  1. ระบุปัญหา
  2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิด
  3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
  4. วางแผนดำเนินการแก้ปัญหา
 

26. ในการแก้ปัญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับเหตุผลที่ต้องรวบรวมข้อมูลก่อนการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา

  1. เพื่อค้นหาวิธีการทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการ หรือชิ้นงานที่สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหา
  2. เพื่อให้มั่นใจว่าวิธีการแก้ปัญหามีความสอดคล้องกับแนวทางที่ผู้อื่นเคยทำไว้
  3. เพื่อค้นหาและเลือกข้อมูลที่จำเป็นและสอดคล้องกับปัญหาที่สนใจ
  4. เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหาที่คนอื่นทำไว้เพื่อนำมาเลียนแบบ
 

27. เพราะเหตุใดถึงต้องมีการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา

  1. เพื่อพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหา
  2. เพื่อหาทฤษฎีมารองรับ
  3. เพื่อศึกษาปัญหาอื่นๆ ที่คล้ายกัน
  4. เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิงของปัญหา
 

28. การวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน ควรอยู่ในขั้นตอนใด

  1. ระบุปัญหา
  2. ออกแบบวิธีแก้ปัญหา
  3. วางแผนดำเนินการแก้ปัญหา
  4. ทดสอบ ประเมินผล ปรับปรุง และแก้ไขชิ้นงาน
 

29. ขั้นตอนต่อไปนี้ เป็นขั้นตอนที่ต้องดำเนินการอย่างระเอียดและต้องมีการวางแผนอย่างถูกวิธี

  1. ดำเนินการแก้ปัญหา
  2. เลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี
  3. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
  4. ตรวจสอบและปรับปรุง
 

30. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการแก้ปัญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

  1. การทดลองทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีการหนึ่งของการรวบรวมข้อมูล
  2. การนำเสนอผลงานควรใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการนำเสนอเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจยิ่งขึ้น
  3. นำผลการทดสอบมากำหนดประเด็นในการประเมินผลงาน
  4. เมื่อทดสอบชิ้นงานแล้วพบว่ามีปัญหาต้องกลับไปออกแบบชิ้นงานใหม่เสมอ
 

<< Go Back